ภาพกิจกรรม (TH) NEW

THAILAND MINE ACTION CENTER
พล.อ. ศักดิ์สิทธิ์ แสงชนินทร์ ผอ.ศทช.ศบท. เป็นประธานในพิธีมอบเกียรติบัตรให้กับผู้เข้าร่วมการฝึก และหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนฯ พร้อมทั้งปิดการฝึกร่วม/ผสม ด้านการเก็บกู้และทำลายสรรพาวุธระเบิด และการกวาดล้างทุ่นระเบิด (Deployment For Training: DFT 25.2)
THAILAND MINE ACTION CENTER
ศทช.ศบท. มีความประสงค์ประกาศรับสมัครกำลังพลช่วยปฏิบัติราชการ ศทช.ศบท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๙
THAILAND MINE ACTION CENTER
ในปีงบประมาณ 2568 ศทช.ศบท. ได้กำหนดจัดกิจกรรม “วันรณรงค์การดำเนินิงานด้านทุ่นระเบิดสากล” ในพื้นที่ นปท.1 ณ ค่ายนิมมาณกลยุทธ (ร.12 พัน.2 รอ.) ตำบลแซร์ออ อำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้ประชาชนทุกภาคส่วนของประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ชุมชนและประชาชนในพื้นที่ ที่ได้รับผลกระทบจากทุ่นระเบิด มีความตื่นตัวและตระหนักรู้ถึงภัยอันตรายจากทุ่นระเบิด
THAILAND MINE ACTION CENTER
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 19 ธันวาคม 2567 พล.อ. ศักดิ์สิทธิ์ แสงชนินทร์ ผอ.ศทช.ศบท. และคณะ เข้าร่วมรับฟังการแถลงสรุปผลรวมถึงปัญหาข้อขัดข้อง และเป็นประธานในพิธีปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรการฝึกร่วม/ผสมการปฏิบัติการทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม หลักสูตรเตรียมการหัวหน้าชุดปฏิบัติการทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม ซึ่งจัดขึ้นในห้วง 16-20 ธ.ค. 67 ณ ศตท.ศทช.ศบท. (รร.ช.กช.) ค่ายภาณุรังษี อ.เมือง จว.ร.บ.
THAILAND MINE ACTION CENTER
ห้วงระหว่างวันที่ 16-20 ธ.ค. 67 พล.ต. วริทธิ์ เสือยาง รอง ผอ.ศทช.ศบท. (2) และ ร.อ.หญิง อารีรัตน์ รักษ์ศรีทอง เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการเครือข่ายช่วยเหลือเหยื่อทุ่นระเบิดระดับภูมิภาค (the Regional Workshop on Promotion the Collaboration and Cooperation of the Regional Victim Assistance Network Through Data Management for Victim Assistance in the ASEAN Member States) ณ กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา
THAILAND MINE ACTION CENTER
ห้วงระหว่างวันที่ ๒๔-๓๐ พ.ย. ๖๗ : พล.อ. ศักดิ์สิทธิ์ แสงชนินทร์ ผอ.ศทช.ศบท. และคณะ เข้าร่วมการประชุมทบทวนอนุสัญญาห้ามทุ่นระเบิดสังหารบุคคล ครั้งที่ ๕ (Fifth Review Conference of Anti-Personnel Mine Ban Convention: RevCon5) โดยจัดขึ้น ณ เมืองเสียมราฐ ราชอาณาจักรกัมพูชา
THAILAND MINE ACTION CENTER
ห้วงระหว่างวันที่ ๒๔-๓๐ พ.ย. ๖๗ : พล.อ. ศักดิ์สิทธิ์ แสงชนินทร์ ผอ.ศทช.ศบท. และคณะ เข้าร่วมการประชุมทบทวนอนุสัญญาห้ามทุ่นระเบิดสังหารบุคคล ครั้งที่ ๕ (Fifth Review Conference of Anti-Personnel Mine Ban Convention: RevCon5) โดยจัดขึ้น ณ เมืองเสียมราฐ ราชอาณาจักรกัมพูชา
THAILAND MINE ACTION CENTER
ประวัติและประสบการณ์ทำงานที่สำคัญของ ผอ.ศทช.ศบท.
THAILAND MINE ACTION CENTER
ประวัติและประสบการณ์ทำงานที่สำคัญของ ผอ.ศทช.ศบท.
THAILAND MINE ACTION CENTER
ประวัติและประสบการณ์ทำงานที่สำคัญของ ผอ.ศทช.ศบท.
THAILAND MINE ACTION CENTER
ประวัติและประสบการณ์ทำงานที่สำคัญของ ผอ.ศทช.ศบท.
THAILAND MINE ACTION CENTER
ประวัติและประสบการณ์ทำงานที่สำคัญของ ผอ.ศทช.ศบท.
THAILAND MINE ACTION CENTER
ประวัติและประสบการณ์ทำงานที่สำคัญของ ผอ.ศทช.ศบท.
THAILAND MINE ACTION CENTER
ประวัติและประสบการณ์ทำงานที่สำคัญของ ผอ.ศทช.ศบท.
THAILAND MINE ACTION CENTER
ประวัติและประสบการณ์ทำงานที่สำคัญของ ผอ.ศทช.ศบท.
THAILAND MINE ACTION CENTER
ประวัติและประสบการณ์ทำงานที่สำคัญของ ผอ.ศทช.ศบท.
THAILAND MINE ACTION CENTER
เมื่อวันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 พล.อ. ศักดิ์สิทธิ์ แสงชนินทร์ ผอ.ศทช.ศบท. ได้กรุณาเป็นประธานในพิธีมอบประกาศเกียรติคุณให้กับ พล.ฯ อนุสรณ์ บุญมาก ซึ่งมีกำหนดปลดประจำการในวันที่ 1 พ.ย. 67 เพื่อเป็นการขอบคุณในโอกาสที่ช่วยปฏิบัติราชการให้กับ ศทช.ศบท. ซึ่งเป็นประโยชน์กับทางราชการด้วยดีมาโดยตลอด
THAILAND MINE ACTION CENTER
พิธี รับ-ส่ง หน้าที่ และรับมอบการบังคับบัญชา ผอ.ศทช.ศบท. ระหว่าง พล.ท. ณัฐวุฒิ สบายรูป (ผอ.ศทช.ศบท. ท่านเก่า) และ พล.อ. ศักดิ์สิทธิ์ แสงชนินทร์ (ผอ.ศทช.ศบท. ท่านใหม่)
THAILAND MINE ACTION CENTER
พิธี รับ-ส่ง หน้าที่ และรับมอบการบังคับบัญชา ผอ.ศทช.ศบท. ระหว่าง พล.ท. ณัฐวุฒิ สบายรูป (ผอ.ศทช.ศบท. ท่านเก่า) และ พล.อ. ศักดิ์สิทธิ์ แสงชนินทร์ (ผอ.ศทช.ศบท. ท่านใหม่)
THAILAND MINE ACTION CENTER
ผอ.ศทช.ศบท. ให้การต้อนรับ พล.อ. โดมศักดิ์ คำใสแสง รอง ผบ.ทสส.(1) และคณะ ในโอกาสเดินทางตรวจเยี่ยมหน่วย ศูนย์ปฏิบัติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ เพื่อติดตามความคืบหน้าในการปฏิบัติงาน ไตรมาสที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 และปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน

 

ดาวน์โหลดแบบฟอร์มรายงาน  NMAS  และ SOP

โดย สปป.ศทช.ศบท.

ผู้ที่สนใจสามารถดาวน์โหลดข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่

https://drive.google.com/drive/folders/1LZthO358iDPUVNwinH2TmtZ7K37HzbK2?usp=drive_link

https://drive.google.com/drive/folders/1k72BgjIxvah1fUk2Hb2jJKoYMJ00FXWo?usp=drive_link

https://drive.google.com/drive/folders/1tBytl3q_UuRo7KxKMIWRsY2ltFl8uXUZ?usp=drive_link

https://www.mineactionstandards.org/standards/

 

 

 

The 1997 Mine Ban Treaty was the first disarmament convention committing States Parties to provide assistance to the victims of a specific weapon. The components of victim assistance include, but are not restricted to: data collection and needs assessment with referral to emergency and continuing medical care; physical rehabilitation, including prosthetics and other assistive devices; psychological support; social and economic inclusion; and relevant laws and public policies.

The definition of “landmine victim” was agreed by States Parties in the Final Report of the First Review Conference(paragraph 64) formally adopted at the Nairobi Summit in 2004 as based on the then generally accepted understanding as “those who either individually or collectively have suffered physical or psychological injury, economic loss or substantial impairment of their fundamental rights through acts or omissions related to mine utilization.” Landmine victim, according to this widely accepted understanding of the term, includes survivors, as well as affected families and communities.

In the penultimate year for the Mine Ban Treaty’s Maputo Action Plan 2014–2019, this chapter principally takes stock of changes, progress, and challenges to the provision of assistance in States Parties with significant numbers of survivors and needs. It draws from reporting on the activities and challenges of hundreds of relevant programs implemented through government agencies, international and national organizations and NGOs, survivors networks and similar community-based organizations, as well as other service providers.

In most States Parties some efforts to improve the quality and quantity of health and physical rehabilitation programs for survivors were undertaken. However, after a trend of large reductions in services available in recent years due to decreases in resources, in 2017–2018 many countries saw near-stagnation in the remaining core assistance services for mine/explosive remnants of war (ERW) victims. Services remained largely centralized, preventing many mine/ERW survivors who live in remote and rural areas from accessing those services. The needs remain great, including in the newest States Parties, Palestine and Sri Lanka.

Many existing coordination mechanisms had some survivor participation, but States Parties were yet to fulfill their commitments to building the capacity of survivors through their representative organizations. Most survivor networks struggled to provide essential local support not available through larger NGOs or existing state services.

The Monitor website includes comprehensive country profiles detailing the human impact of mines, cluster munitions, and other ERW and examining progress in victim assistance in some 70 countries, including both States Parties and states not party to the Mine Ban Treaty and the Convention on Cluster Munitions. A collection of thematic overviews, briefing papers, factsheets, and infographics related to victim assistance produced since 1999 is available through the Victim Assistance Resources portal on the Monitor website.

Source: http://www.the-monitor.org/en-gb/reports/2018/landmine-monitor-2018/victim-assistance.aspx