ภาพกิจกรรม (TH) NEW

THAILAND MINE ACTION CENTER
พล.อ. ศักดิ์สิทธิ์ แสงชนินทร์ ผอ.ศทช.ศบท. เป็นประธานในพิธีมอบเกียรติบัตรให้กับผู้เข้าร่วมการฝึก และหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนฯ พร้อมทั้งปิดการฝึกร่วม/ผสม ด้านการเก็บกู้และทำลายสรรพาวุธระเบิด และการกวาดล้างทุ่นระเบิด (Deployment For Training: DFT 25.2)
THAILAND MINE ACTION CENTER
ศทช.ศบท. มีความประสงค์ประกาศรับสมัครกำลังพลช่วยปฏิบัติราชการ ศทช.ศบท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๙
THAILAND MINE ACTION CENTER
ในปีงบประมาณ 2568 ศทช.ศบท. ได้กำหนดจัดกิจกรรม “วันรณรงค์การดำเนินิงานด้านทุ่นระเบิดสากล” ในพื้นที่ นปท.1 ณ ค่ายนิมมาณกลยุทธ (ร.12 พัน.2 รอ.) ตำบลแซร์ออ อำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้ประชาชนทุกภาคส่วนของประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ชุมชนและประชาชนในพื้นที่ ที่ได้รับผลกระทบจากทุ่นระเบิด มีความตื่นตัวและตระหนักรู้ถึงภัยอันตรายจากทุ่นระเบิด
THAILAND MINE ACTION CENTER
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 19 ธันวาคม 2567 พล.อ. ศักดิ์สิทธิ์ แสงชนินทร์ ผอ.ศทช.ศบท. และคณะ เข้าร่วมรับฟังการแถลงสรุปผลรวมถึงปัญหาข้อขัดข้อง และเป็นประธานในพิธีปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรการฝึกร่วม/ผสมการปฏิบัติการทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม หลักสูตรเตรียมการหัวหน้าชุดปฏิบัติการทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม ซึ่งจัดขึ้นในห้วง 16-20 ธ.ค. 67 ณ ศตท.ศทช.ศบท. (รร.ช.กช.) ค่ายภาณุรังษี อ.เมือง จว.ร.บ.
THAILAND MINE ACTION CENTER
ห้วงระหว่างวันที่ 16-20 ธ.ค. 67 พล.ต. วริทธิ์ เสือยาง รอง ผอ.ศทช.ศบท. (2) และ ร.อ.หญิง อารีรัตน์ รักษ์ศรีทอง เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการเครือข่ายช่วยเหลือเหยื่อทุ่นระเบิดระดับภูมิภาค (the Regional Workshop on Promotion the Collaboration and Cooperation of the Regional Victim Assistance Network Through Data Management for Victim Assistance in the ASEAN Member States) ณ กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา
THAILAND MINE ACTION CENTER
ห้วงระหว่างวันที่ ๒๔-๓๐ พ.ย. ๖๗ : พล.อ. ศักดิ์สิทธิ์ แสงชนินทร์ ผอ.ศทช.ศบท. และคณะ เข้าร่วมการประชุมทบทวนอนุสัญญาห้ามทุ่นระเบิดสังหารบุคคล ครั้งที่ ๕ (Fifth Review Conference of Anti-Personnel Mine Ban Convention: RevCon5) โดยจัดขึ้น ณ เมืองเสียมราฐ ราชอาณาจักรกัมพูชา
THAILAND MINE ACTION CENTER
ห้วงระหว่างวันที่ ๒๔-๓๐ พ.ย. ๖๗ : พล.อ. ศักดิ์สิทธิ์ แสงชนินทร์ ผอ.ศทช.ศบท. และคณะ เข้าร่วมการประชุมทบทวนอนุสัญญาห้ามทุ่นระเบิดสังหารบุคคล ครั้งที่ ๕ (Fifth Review Conference of Anti-Personnel Mine Ban Convention: RevCon5) โดยจัดขึ้น ณ เมืองเสียมราฐ ราชอาณาจักรกัมพูชา
THAILAND MINE ACTION CENTER
ประวัติและประสบการณ์ทำงานที่สำคัญของ ผอ.ศทช.ศบท.
THAILAND MINE ACTION CENTER
ประวัติและประสบการณ์ทำงานที่สำคัญของ ผอ.ศทช.ศบท.
THAILAND MINE ACTION CENTER
ประวัติและประสบการณ์ทำงานที่สำคัญของ ผอ.ศทช.ศบท.
THAILAND MINE ACTION CENTER
ประวัติและประสบการณ์ทำงานที่สำคัญของ ผอ.ศทช.ศบท.
THAILAND MINE ACTION CENTER
ประวัติและประสบการณ์ทำงานที่สำคัญของ ผอ.ศทช.ศบท.
THAILAND MINE ACTION CENTER
ประวัติและประสบการณ์ทำงานที่สำคัญของ ผอ.ศทช.ศบท.
THAILAND MINE ACTION CENTER
ประวัติและประสบการณ์ทำงานที่สำคัญของ ผอ.ศทช.ศบท.
THAILAND MINE ACTION CENTER
ประวัติและประสบการณ์ทำงานที่สำคัญของ ผอ.ศทช.ศบท.
THAILAND MINE ACTION CENTER
ประวัติและประสบการณ์ทำงานที่สำคัญของ ผอ.ศทช.ศบท.
THAILAND MINE ACTION CENTER
เมื่อวันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 พล.อ. ศักดิ์สิทธิ์ แสงชนินทร์ ผอ.ศทช.ศบท. ได้กรุณาเป็นประธานในพิธีมอบประกาศเกียรติคุณให้กับ พล.ฯ อนุสรณ์ บุญมาก ซึ่งมีกำหนดปลดประจำการในวันที่ 1 พ.ย. 67 เพื่อเป็นการขอบคุณในโอกาสที่ช่วยปฏิบัติราชการให้กับ ศทช.ศบท. ซึ่งเป็นประโยชน์กับทางราชการด้วยดีมาโดยตลอด
THAILAND MINE ACTION CENTER
พิธี รับ-ส่ง หน้าที่ และรับมอบการบังคับบัญชา ผอ.ศทช.ศบท. ระหว่าง พล.ท. ณัฐวุฒิ สบายรูป (ผอ.ศทช.ศบท. ท่านเก่า) และ พล.อ. ศักดิ์สิทธิ์ แสงชนินทร์ (ผอ.ศทช.ศบท. ท่านใหม่)
THAILAND MINE ACTION CENTER
พิธี รับ-ส่ง หน้าที่ และรับมอบการบังคับบัญชา ผอ.ศทช.ศบท. ระหว่าง พล.ท. ณัฐวุฒิ สบายรูป (ผอ.ศทช.ศบท. ท่านเก่า) และ พล.อ. ศักดิ์สิทธิ์ แสงชนินทร์ (ผอ.ศทช.ศบท. ท่านใหม่)
THAILAND MINE ACTION CENTER
ผอ.ศทช.ศบท. ให้การต้อนรับ พล.อ. โดมศักดิ์ คำใสแสง รอง ผบ.ทสส.(1) และคณะ ในโอกาสเดินทางตรวจเยี่ยมหน่วย ศูนย์ปฏิบัติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ เพื่อติดตามความคืบหน้าในการปฏิบัติงาน ไตรมาสที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 และปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน

 

ดาวน์โหลดแบบฟอร์มรายงาน  NMAS  และ SOP

โดย สปป.ศทช.ศบท.

ผู้ที่สนใจสามารถดาวน์โหลดข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่

https://drive.google.com/drive/folders/1LZthO358iDPUVNwinH2TmtZ7K37HzbK2?usp=drive_link

https://drive.google.com/drive/folders/1k72BgjIxvah1fUk2Hb2jJKoYMJ00FXWo?usp=drive_link

https://drive.google.com/drive/folders/1tBytl3q_UuRo7KxKMIWRsY2ltFl8uXUZ?usp=drive_link

https://www.mineactionstandards.org/standards/

 

 

 

สารบัญ

        One of the deadliest legacies of the 20th century is the use of landmines in warfare. Anti-personnel landmines continue to have tragic, unintended consequences years after a battle and even the entire war has ended. As time passes, the location of landmines is often forgotten, even by those who planted them. These mines continue to be functional for many decades, causing further damage, injury and death.

       Landmines are basically explosive devices that are designed to blow up when triggered by pressure or a tripwire. These devices are typically found on or just below the surface of the ground. The purpose of mines when used by armed forces is to disable any person or vehicle that comes into contact with it by an explosion or fragments released at high speeds.

      Currently, there are more than 100 million landmines located in 70 countries around the world, according to One World International. Since 1975, landmines have killed or maimed more than 1 million people, which has led to a worldwide effort to ban further landmine use and clear away existing landmines. In this article, we will look at the different types of landmines, their basic operation and the techniques used to clear minefields.

       Landmines are easy to make, cheap and effective weapons that can be deployed easily over large areas to prevent enemy movements. Mines are typically placed in the ground by hand, but there are also mechanical minelayers that can plow the earth and drop and bury mines at specific intervals.

­    Mines are often laid in groups, called minefields, and are designed to prevent the enemy fro­m passing through a certain area, or sometimes to force an enemy through a particular area. An army also will use landmines to slow an enemy until reinforcements can arrive. While more than 350 var­ieties of mines exist, they can be broken into two categories:

1. Anti-personnel (AP) mines

2. Anti-tank (AT) mines

     The basic function of both of these types of landmines is the same, but there are a couple of key differences between them. Anti-tank mines are typically larger and contain several times more explosive material than anti-personnel mines. There is enough explosive in an anti-tank mine to destroy a tank or truck, as well as kill people in or around the vehicle. Additionally, more pressure is usually required for an anti-tank mine to detonate. Most of these mines are found on roads, bridges and large clearances where tanks may travel.


Source: https://science.howstuffworks.com/landmine.htm